กระท่าง (ซาลาแมนเดอร์)
ชื่อสามัญ
Himalayan Newt
ชื่อวิทยาศาสตร์
Tylottriton verrucosus
ขนาด
20-24 cm.
Himalayan Newt
ชื่อวิทยาศาสตร์
Tylottriton verrucosus
ขนาด
20-24 cm.
รูปร่าง ลักษณะทั่วไป
มีผิวหนังละเอียด บริเวณหลังมีปุ่มกลมๆเรียงไปตามแนวทั้งสองข้างของลำตัว
ลักษณะลำตัวคล้ายจิ้งจก ยาวประมาณ 13 - 15 เซ็นติเมตร ด้านหลังมีสีน้ำตาลคล้ำ บนปากและปุ่มบนแผ่นหลังมีแต้มสีเหลือง หางสีส้ม ด้านท้องมีสีส้มจนถึงน้ำตาลเหลือง ที่พบในประเทศไทยมีเพียงชนิดเดียว
มีผิวหนังละเอียด บริเวณหลังมีปุ่มกลมๆเรียงไปตามแนวทั้งสองข้างของลำตัว
ลักษณะลำตัวคล้ายจิ้งจก ยาวประมาณ 13 - 15 เซ็นติเมตร ด้านหลังมีสีน้ำตาลคล้ำ บนปากและปุ่มบนแผ่นหลังมีแต้มสีเหลือง หางสีส้ม ด้านท้องมีสีส้มจนถึงน้ำตาลเหลือง ที่พบในประเทศไทยมีเพียงชนิดเดียว
นิสัย
ชอบหลบซ่อนตัวอยู่ตามใต้ก้อนหิน ท่อนไม้ และกองใบไม้แห้ง
ถิ่นอาศัย
อาศัยตามแหล่งน้ำบนภูเขาสูงๆในภาคเหนือและอีสานตอนบน เช่นที่ดอยสุเทพ ดอยปุย ดอยอินทนนท์ ดอยอ่างขาง ดอยเชียงดาว ในจังหวัดเชียงใหม่ และที่ภูหลวงในจังหวัดเลย อาศัยอยู่ในป่าดิบเขาที่ระดับความสูง 1,200-2,000 เมตร
อาหาร
กินแมงและตัวอ่อนของแมลงเป็นอาหาร ระยะตัวอ่อน(ลูกอ๊อด)จะกินตัวอ่อนหรือลูกอ๊อดกบเป็นอาหารด้วย
การสืบพันธุ์
ผสมพันธุ์ในเดือนกันยายน-ตุลาคม โดยจะมาอยู่รวมกันเป็นกลุ่มตามแหล่งน้ำ แอ่งน้ำนิ่ง วางไข่ติดกับพืชน้ำ ลูกอ๊อดจะมีเหงือกเป็นพู่จำนวน 3 คู่
ชอบหลบซ่อนตัวอยู่ตามใต้ก้อนหิน ท่อนไม้ และกองใบไม้แห้ง
ถิ่นอาศัย
อาศัยตามแหล่งน้ำบนภูเขาสูงๆในภาคเหนือและอีสานตอนบน เช่นที่ดอยสุเทพ ดอยปุย ดอยอินทนนท์ ดอยอ่างขาง ดอยเชียงดาว ในจังหวัดเชียงใหม่ และที่ภูหลวงในจังหวัดเลย อาศัยอยู่ในป่าดิบเขาที่ระดับความสูง 1,200-2,000 เมตร
อาหาร
กินแมงและตัวอ่อนของแมลงเป็นอาหาร ระยะตัวอ่อน(ลูกอ๊อด)จะกินตัวอ่อนหรือลูกอ๊อดกบเป็นอาหารด้วย
การสืบพันธุ์
ผสมพันธุ์ในเดือนกันยายน-ตุลาคม โดยจะมาอยู่รวมกันเป็นกลุ่มตามแหล่งน้ำ แอ่งน้ำนิ่ง วางไข่ติดกับพืชน้ำ ลูกอ๊อดจะมีเหงือกเป็นพู่จำนวน 3 คู่
ลักษณะไข่
เม็ดกลมๆ คล้ายเมล็ดสาคูตามพืชนำ
เม็ดกลมๆ คล้ายเมล็ดสาคูตามพืชนำ
สถานภาพปัจจุบัน
สัตว์ป่าคุ้มครอง ที่หายากและใกล้สูญพันธ์ไปจากประเทศไทย เนื่องจากการบุกรุกทำลายป่าไม้บริเวณต้นน้ำ ส่งผลกระทบต่อแหล่งน้ำซึ่งเป็นถิ่นที่อยู่อาศัย รวมทั้งการจับมาเป็นสัตว์ทดลอง
สัตว์ป่าคุ้มครอง ที่หายากและใกล้สูญพันธ์ไปจากประเทศไทย เนื่องจากการบุกรุกทำลายป่าไม้บริเวณต้นน้ำ ส่งผลกระทบต่อแหล่งน้ำซึ่งเป็นถิ่นที่อยู่อาศัย รวมทั้งการจับมาเป็นสัตว์ทดลอง
จากเวป วนกรด็อทคอม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น